วันเสาร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ติดตามการเปลี่ยนแปลงของต้นถั่วเขียวที่เตรียมไว้ ใน เริ่มวันที่ 18- 22 มิถุนายน 2556


วันที่ 18 มิถุนายน 2556 ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์

          นักเรียนชั้นประถมศึกษปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลรัตนบุรี ได้ทำการเพาะเมล็ดถั่วเขียวเพื่อใช้ในกิจกรรมการทดลอง ซึ่งจะทดสองเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน
   1.น้ำมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช    (ตัวแปรต้น คือ น้ำ   ตัวแปต้นคือ การเจริญเติบโตของพืช)
   2.แสงแดดมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช (ตัวแปรต้น คือ แสงแดด   ตัวแปต้นคือ การเจริญเติบโตของพืช)

ดังนั้น ๆ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมดังกล่าว  เด็ก ๆ จึงได้ เพาะเมล็ดถั่วเขียว โดยใช้แก้วน้ำพลาสติก ดิน และ เมล็ดถั่วเขียว จำนวน 20 เมล็ด แบ่งเป็น แก้วละ 10 เมล็ด ฝากไว้ ณ ห้องวิทยาศาสตร์
   นักเรียนเพิ่มน้ำอีกจำนวน ๓๐ หยดต่อกระถาง
วันที่ 18 มิถุนายน 2556 ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
   นักเรียนเพิ่มน้ำอีกจำนวน ๓๐ หยดต่อกระถาง
วันที่ 20 มิถุนายน 2556 ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
   นักเรียนเพิ่มน้ำอีกจำนวน ๓๐ หยดต่อกระถาง
วันที่ 22 มิถุนายน 2556 ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
   นักเรียนเพิ่มน้ำอีกจำนวน ๓๐ หยดต่อกระถาง








คำถาม
   ๑.เมื่อสังเกตตั้งแต่วันที่เริ่มเพาะเมล็ดถั่วพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
 ๒.เครื่องมืออย่างง่ายที่สามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงได้แก่อะไรบ้าง......................................................

แหล่งข้อมูลเดิม
  http://anubarnsci.blogspot.com/2013/06/18-2556.html

ติดตามการเปลี่ยนแปลงของต้นถั่วเขียวที่เตรียมไว้ ในวันที่ 18 มิถุนายน 2556


วันที่ 18 มิถุนายน 2556 ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์

          นักเรียนชั้นประถมศึกษปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลรัตนบุรี ได้ทำการเพาะเมล็ดถั่วเขียวเพื่อใช้ในกิจกรรมการทดลอง ซึ่งจะทดสองเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน
   1.น้ำมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช    (ตัวแปรต้น คือ น้ำ   ตัวแปต้นคือ การเจริญเติบโตของพืช)
   2.แสงแดดมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช (ตัวแปรต้น คือ แสงแดด   ตัวแปต้นคือ การเจริญเติบโตของพืช)

ดังนั้น ๆ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมดังกล่าว  เด็ก ๆ จึงได้ เพาะเมล็ดถั่วเขียว โดยใช้แก้วน้ำพลาสติก ดิน และ เมล็ดถั่วเขียว จำนวน 20 เมล็ด แบ่งเป็น แก้วละ 10 เมล็ด ฝากไว้ ณ ห้องวิทยาศาสตร์
   นักเรียนเพิ่มน้ำอีกจำนวน ๓๐ หยดต่อกระถาง
วันที่ 18 มิถุนายน 2556 ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
   นักเรียนเพิ่มน้ำอีกจำนวน ๓๐ หยดต่อกระถาง
วันที่ 20 มิถุนายน 2556 ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
   นักเรียนเพิ่มน้ำอีกจำนวน ๓๐ หยดต่อกระถาง








คำถาม
๑.ถั่วในภาพทำการเพาะมาแล้วกี่วัน.................................(๑วัน/๒วัน/๓วัน)
๒.ส่วนใดของถั่วที่เพาะน่าจะงอกออกมาส่วนแรก........................(ราก/ใบ)
๓.ส่วนของถั่วที่สูงพ้นเหนือดินคือโครงสร้างใด...................................(ราก/ลำต้น/ใบเลี้ยง/ใบ)
๔.ใบเลี้ยงของถั่วมีกี่ใบ...........................(๑ใบ/๒ใบ)
๕.ใบแท้ของถั่วมีลักษณะต่างจากใบเลี้ยงหรือไม่...............(ต่าง/ไม่ต่าง)
๖.ถั่วที่เพาะน่าจะเป็นประเภทพืชใบเลี้ยง..........................(เดี่ยว/คู่)
๗.ช่วงที่ใบเลี้ยงยังคงอยู่ ถั่วต้องการน้ำและอาหารหรือไม่.......................(ต้องการ/ไม่ต้องการ)
๘.อาหารของถั่วน่าจะเป็นอะไร......................(โปรตีน/ไขมัน/ธาตุอาหาร)
๙.ถ้าถั่วต้องการน้ำและอาหารจริงสังเกตได้จากสิ่งใด..............................................(คำถามชวนทดลอง)
๑๐.ถั่วที่เพาะ ๑๐ เมล็ดงอกทั้งหมดหรือไม่........................... คิดเป็นร้อยละเท่าไหร่...........................

ภาพกิจกรรมที่ผ่านมา
http://anubarnsci.blogspot.com/2013/06/blog-post_7793.html

วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

เตรียมต้นถั่วเขียวสำหรับการทำปฏิบัติการวิทยาศาสตร์

วันที่ 18 มิถุนายน 2556 ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์

          นักเรียนชั้นประถมศึกษปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลรัตนบุรี ได้ทำการเพาะเมล็ดถั่วเขียวเพื่อใช้ในกิจกรรมการทดลอง ซึ่งจะทดสองเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน
   1.น้ำมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช    (ตัวแปรต้น คือ น้ำ   ตัวแปต้นคือ การเจริญเติบโตของพืช)
   2.แสงแดดมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช (ตัวแปรต้น คือ แสงแดด   ตัวแปต้นคือ การเจริญเติบโตของพืช)

ดังนั้น ๆ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมดังกล่าว  เด็ก ๆ จึงได้ เพาะเมล็ดถั่วเขียว โดยใช้แก้วน้ำพลาสติก ดิน และ เมล็ดถั่วเขียว จำนวน 20 เมล็ด แบ่งเป็น แก้วละ 10 เมล็ด ฝากไว้ ณ ห้องวิทยาศาสตร์









    

วันพุธที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนอนุบาลรัตนบุรี ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖ นักเรียนชั้น ป.๔/๒ จำนวน ๔๔ คน วันพุธ ที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๕ คาบเรียนที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ พืชรอบตัวเรา บทที่ ๑ โครงสร้างของพืช (ใบ)
จุดประสงค์การศึกษาทดลอง
     พิสูจน์การการคายน้ำของใบพืช
อุปกรณ์
    ๑.ต้นไม้พุ่ม
    ๒.ถุงพลาสติกใส ๒ ใบ
    ๓.หนังยาง
    ๔.แว่นขยาย (นักเรียนผ่านการฝึกใช้แว่นขยายมาแล้ว)
วิธีการดำเนินการ
   ๑.แบ่งกลุ่มแต่ละกลุ่ม ตัวแทนออกมารับใบงานเพื่อศึกษาวิธีการ
   ๒.ออกศึกษานอกห้องเรียน เลือกไม้พุ่มที่ไม่สูงหรือต่ำเกินไป และมีใบที่สมบูรณ์
   ๓.ใช้ถุงพลาสติกใบที่ ๑ ครอบกิ่งที่มีใบแล้วใช้หนังยางรัด  ถุงพลาสติกใบที่สองครอบกิ่งที่เด็ดใบออกหมดแล้ว
   ๔.สังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังจาก ๑๐ - ๑๕ นาที โดยใช้แว่นขยายสังเกต

คำถามก่อนการทดลอง
๑.การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์อย่างไร.............................................................................
.......................................................................................................................................
๒.ถ้าใบไม้คายน้ำออกทางใบจริงเราก็จะพบไอน้ำในถุงพลางติกใช่หรือไม่...................
๓.เมื่อไอน้ำมองไม่เห็นตัวยตาเปล่าแล้วเราจะใช้วิธีการครอบด้วยถุงเพื่อดักไอน้ำได้หรือไม่.............
๒.ในการทดลองจะต้องจัดสิ่งใดให้เหมือนกัน เพื่อความเท่าเทียมกัน.........................
....................................................................................................................................
๓.สิ่งที่จัดให้แตกต่างกัน คือ ........................................................................... ซึ่งคำตอบ
ที่ได้น่าจะเป็น..............................................................................................
การบันทึกผล
     ๑.การเปลี่ยนแปลงของถุงที่ใบไม้.........................................
     ๒.การเปลี่ยนแปลงของถุงที่ม่มีใบไม้..........................................

คำถามหลังการทดลอง
   ๑.พบการเปลี่ยนแปลงใดในถุงพลาสติกทั้งสอง.........................................................
.......................................................................................................................................
   ๒.อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลเช่นนั้น.......................................................................
....................................................................................................................................

สรุปผลการทดลอง
     จาการทดลองพบว่า ใบไม้มีการ........................ ได้ เนื่องจาก ถุงพลาสติกใบที่ ๑ ที่ครอบกิ่งที่มีใบพบ........... ส่วนถุงพลาสติกใบที่ ๒ ครอบกิ่งที่ไม่มีใบ......................













วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2556

กิจกรรมการสังเกตปลากัด

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนอนุบาลรัตนบุรี หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง สัตว์มีการตอบสนอง
จุดประสงค์ เพื่ออธิบายพฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก