การอบรมครูวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ระหว่างวันที่ ๑๕ - ๑๖ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ โรงเรียนท่าตูมสนิทราษฤร์
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถด้านการสืบเสาะ ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry) โดยเน้นการใช้คำถามทางวิทยาศาสตร์ เยี่ยงนักวิทยาศาสตร์ในการดำเนินกิจกรรม Scientific Method
ซึ่งประกอบไปด้วย 6 กิจกรรม ดังนี้่
๑.กิจกรรมเรื่อง ภาวะโลกร้อน
๒.กิจกรรมเรื่อง ไขปริศนานกฟินส์
๓.กิจกรรมเรื่อง กำเนิดดวงจันทร์
๔.กิจกรรมเรื่อง น้ำขึ้นน้ำลง
๕.กิจกรรมเรื่อง ทำไมจม ทำไมลอย
๖.กิจกรรมเรื่อง ปริมาตรหายไปไหน
วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
เครื่องมือสำหรับการอภิปรายด้วยคำถามที่แย้งได้ในประเด็น How the Moon Formed
ทฤษฎีกำเนิดดวงจันทร์ : How the Moon Formed : 5 Wild Lunar Theories
1.Capture
2.Fission
3.Co-formation
4.Colliding planetesimals
5.Giant impact
ดวงจันทร์ในยามค่ำคืน บางคืนสว่างน้อย บางคืนสว่่างมาก บางคืนก็หายไปจากท้องฟ้า มีการเปลี่ยนแปลงแต่ละวัน ความสงสัยที่มักจะได้ยินคำถามจากบุคคลรอบข้างว่า " ไฟดวงกลม ๆ บนท้องฟ้าใหญ่ ๆ นั้นคืออะไร" เราก็จะตอบว่า "ดวงจันทร์ " คำถามของเด็กฉลาดจะถามต่อว่า " ดวงจันทร์มาจากใหน" ถ้าเราตอบว่า "พระเจ้าเป็นผู้สร้าง" เด็กก็จะไม่ถามต่อ....
หากเขาโตขึ้นและเรียนรู้มากขึ้น มีหลักฐานบางประการที่ทำให้เขาสังสัยต่อไปอีกว่า ถ้าพระเจ้าไม่ได้เป็นผู้สร้างดวงจันทร์ แล้วดวงจันทร์มาโคจรรอบโลกได้อย่างไร
นักดาราศาสตร์ต่างก็ถกปัญหาที่ไปที่มาของดวงจันทร์ จึงเกิดสมมุติฐาน เกิดทฤษฎีที่พยายามอธิบายที่มาของดวงจันทร์ ดังต่อไปนี้
1. Capture ที่กล่าวว่า ดวงจันทร์ อาจจะ มีมาแต่เดิมดัง ดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ ทั่ว ไป เช่น ดาวศุกร์ ก่อนที่จะถูก จับโดย แรงโน้มถ่วง ของโลกจนเกิด ดวงจันทร์ ในลักษณะนี้
1.Capture
2.Fission
3.Co-formation
4.Colliding planetesimals
5.Giant impact
ดวงจันทร์ในยามค่ำคืน บางคืนสว่างน้อย บางคืนสว่่างมาก บางคืนก็หายไปจากท้องฟ้า มีการเปลี่ยนแปลงแต่ละวัน ความสงสัยที่มักจะได้ยินคำถามจากบุคคลรอบข้างว่า " ไฟดวงกลม ๆ บนท้องฟ้าใหญ่ ๆ นั้นคืออะไร" เราก็จะตอบว่า "ดวงจันทร์ " คำถามของเด็กฉลาดจะถามต่อว่า " ดวงจันทร์มาจากใหน" ถ้าเราตอบว่า "พระเจ้าเป็นผู้สร้าง" เด็กก็จะไม่ถามต่อ....
หากเขาโตขึ้นและเรียนรู้มากขึ้น มีหลักฐานบางประการที่ทำให้เขาสังสัยต่อไปอีกว่า ถ้าพระเจ้าไม่ได้เป็นผู้สร้างดวงจันทร์ แล้วดวงจันทร์มาโคจรรอบโลกได้อย่างไร
นักดาราศาสตร์ต่างก็ถกปัญหาที่ไปที่มาของดวงจันทร์ จึงเกิดสมมุติฐาน เกิดทฤษฎีที่พยายามอธิบายที่มาของดวงจันทร์ ดังต่อไปนี้
1. Capture ที่กล่าวว่า ดวงจันทร์ อาจจะ มีมาแต่เดิมดัง ดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ ทั่ว ไป เช่น ดาวศุกร์ ก่อนที่จะถูก จับโดย แรงโน้มถ่วง ของโลกจนเกิด ดวงจันทร์ ในลักษณะนี้
2.Fission : เกิดพร้อม ๆ กับโลกที่หลอมเหลวและหมุนด้วยความเร็วเกิดแรงเหวียงที่มากพอจะทำให้มวลส่วนหนึ่งของโลกหลุดออกมา
3. Co-formation : ดวงจันทร์เกิดขึ้นควบคู่ไปกับโลกเมื่อ 4.5 พันล้านปีที่ผ่านมา โดยหลอมรวม จากก๊าซ และฝุ่นละออง เช่นเดียวกันกับระบบสุริยะของเราที่ก่อกำเนิดดาวเคราะห์
4.Colliding planetesimals :ดวงจันทร์เกิดขึ้น จากเศษฝุ่นละออง ที่หลอมรวมกัน
5.Giant impact : กล่าวว่าดวงจันทร์เกิดจากเทหวัตถุขนาดใหญ่มาเฉี่ยวชนจนส่วนหนึ่งของโลกนั้นหลุดออกไปแล้วหลอมรวมกันเป็นวัตถุทรงกลมดวงจันทร์
inquiry กับการกำหนดคำถามแรก
ทำความรู้จักกับคำว่า inquiry พอสังเขป ตามฉบับพจนานุกรม ดังนี้
: a request for information : ขอข้อมูล
: an official effort to collect and examine information about something :ความพยายาม ในการเก็บรวบรวม และตรวจสอบ ข้อมูลเกี่ยวกับ บางสิ่งบางอย่าง
: the act of asking questions in order to gather or collect information : การ
กระทำของการถามคำถามเพื่อ รวบรวม หรือเก็บข้อมูล
สรุป inquiry หมายถึง การถาม แล้วถามทำไม.... เพื่ออะไร อะไรเป็นต้นเหตุของคำถาม
เมื่อคำถามจำเป็นต้องใช้กระบวนการทางภาษา ไม่ใช้ภาษาวาจาได้ไหม....โดยลงมือทำ( Do) ลงมือค้น( Investigate) ลงมือแสดง (Action)ได้ไหม
ในทางวิทยาศาสตร์จึงใช้ Inquiry เป็นเครื่องมือสำคัญในการพิสูจน์คำตอบ(คำตอบที่อยู่ในรูป สมมุติฐาน : Hypothesis ซึ่งสมมุติฐานที่ไม่ได้มาจากการส่ม random guess) คำตอบดังกล่าวมีทิศทาง 3 ทางที่เป็นไปได้ คือ - negative , 0 , + positive
คำถามที่จะสามารถกำหนดเป็นปัญหานั้นสร้างได้อย่างไร แต่ละปัญหาล้วนมีความสลับซับซ้อนทั้งนั้น
ดังจะกำหนดสถาณการ์ต่อไปนี้
" ในคลองน้ำจืดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งข้าง ๆ หมู่บ้าน พบปลาและสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำตาย เช่นปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลาเล็ก ๆ อีกหลายชนิด "
จากสถานการณ์ดังกล่าว อะไรคือปัญหา
ก.ปลาตาย
ข.น้ำเน่าเสีย
ค.นำมีสารพิษ
ง.น้ำมีออกซิเจนต่ำ
คำตอบ.. ข้อ ก. ปลายตาย แล้ว ข้อ อื่น ๆ คือ สาเหตุที่น่าจะทำให้ปลาตาย
เมื่อรู้ปัญหาแล้ว จะกำหนดปัญหาเพื่อสร้างคำตอบในรูปแบบวิทยาศาสตร์อย่างไร
ตอบ เมื่อปลาตายคือ ผล ส่วน น้ำเน่าเสีย น้ำมีสารพิษ น้ำมีออกซิเจนต่ำ และอื่น ๆ เป็นต้นเหตุ จึงกำหนดปัญหาได้ดังนี้
คำถามที่ 1 น้ำเน่าเสียทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 2 นำมีสารพิษทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 3 น้ำมีออกซิเจนต่ำทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 4 จุลินทรีย์ในน้ำทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ ......
คำถามมีมาก นักวิทยาศาสตร์จะสุ่มปัญหาไปตรวจสอบ แล้วสรุปได้หรือไม่
เงื่อนไข คำถาม 1 คำถามจะตอบคำตอบได้เพียงคำตอบเดียว
"One problem one hypothesis"
"A hypothesis is not a random guess."
จึงจำเป็นต้องจัดลำดับ คำถามเพื่อการพิสูจน์ตรวจสอบ ยากง่ายตามลำดับ
จะเรียงลำดับปัญหาได้อย่างไร...
การเรียงลำดับจำเป็นต้องอภิปราย discussion เพื่อถกประเด็นปัญหาจากหลักฐานและข้อมูลเบื้องต้นที่ปรากฎ
๑.คลองน้ำแห่งนี้มีการไหลของน้ำไหม... ตอบ มี แต่ไหลช้า ๆ ไม่ทราบอัตราการไหล
๒.คลองน้ำแห่งนี้มีพืชน้ำหรือไม่ ตอบ มีเป็นหย่อม ๆ
๓.คลองน้ำแห่งนี้มีสีของน้ำมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ตอบ เดิมมีสีขุ่น แต่ตอนนี้สีเป็นสีเข้ม มีกลิ่น
๔.พบสิ่งมีชิวิตอื่นที่อยู่ในน้ำอื่น ๆ อีกบ้างไหม ตอบ พบมวนน้ำ กบ เขียด เป็นต้น
๕.คล้องแห่งนี้มีท่อระบายน้ำทิ้งลงคลองหรือไม่.... ตอบ มี
๖.ปลายตายส่วนใหญ่เป็นปลาชนิดใด ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาช่อน
๗.พืชน้ำตายด้วยหรือไม่ ตอบ ปกติ
๘.ต้นน้ำ มีปลาอาศัยตามปกติ
๙.ปลาตายมาเป็นวันที่ ๓ แล้ว
จากข้อมูลเบื้องต้น จะนำไปสู่การอนุมานที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาย่อย ซึ่งจำเป็นต้องใช้ ตารางวิเคราะห์ จะง่ายและสะดวกกว่า
: a request for information : ขอข้อมูล
: an official effort to collect and examine information about something :ความพยายาม ในการเก็บรวบรวม และตรวจสอบ ข้อมูลเกี่ยวกับ บางสิ่งบางอย่าง
: the act of asking questions in order to gather or collect information : การ
กระทำของการถามคำถามเพื่อ รวบรวม หรือเก็บข้อมูล
สรุป inquiry หมายถึง การถาม แล้วถามทำไม.... เพื่ออะไร อะไรเป็นต้นเหตุของคำถาม
เมื่อคำถามจำเป็นต้องใช้กระบวนการทางภาษา ไม่ใช้ภาษาวาจาได้ไหม....โดยลงมือทำ( Do) ลงมือค้น( Investigate) ลงมือแสดง (Action)ได้ไหม
ในทางวิทยาศาสตร์จึงใช้ Inquiry เป็นเครื่องมือสำคัญในการพิสูจน์คำตอบ(คำตอบที่อยู่ในรูป สมมุติฐาน : Hypothesis ซึ่งสมมุติฐานที่ไม่ได้มาจากการส่ม random guess) คำตอบดังกล่าวมีทิศทาง 3 ทางที่เป็นไปได้ คือ - negative , 0 , + positive
คำถามที่จะสามารถกำหนดเป็นปัญหานั้นสร้างได้อย่างไร แต่ละปัญหาล้วนมีความสลับซับซ้อนทั้งนั้น
ดังจะกำหนดสถาณการ์ต่อไปนี้
" ในคลองน้ำจืดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งข้าง ๆ หมู่บ้าน พบปลาและสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำตาย เช่นปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลาเล็ก ๆ อีกหลายชนิด "
จากสถานการณ์ดังกล่าว อะไรคือปัญหา
ก.ปลาตาย
ข.น้ำเน่าเสีย
ค.นำมีสารพิษ
ง.น้ำมีออกซิเจนต่ำ
คำตอบ.. ข้อ ก. ปลายตาย แล้ว ข้อ อื่น ๆ คือ สาเหตุที่น่าจะทำให้ปลาตาย
เมื่อรู้ปัญหาแล้ว จะกำหนดปัญหาเพื่อสร้างคำตอบในรูปแบบวิทยาศาสตร์อย่างไร
ตอบ เมื่อปลาตายคือ ผล ส่วน น้ำเน่าเสีย น้ำมีสารพิษ น้ำมีออกซิเจนต่ำ และอื่น ๆ เป็นต้นเหตุ จึงกำหนดปัญหาได้ดังนี้
คำถามที่ 1 น้ำเน่าเสียทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 2 นำมีสารพิษทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 3 น้ำมีออกซิเจนต่ำทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 4 จุลินทรีย์ในน้ำทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ ......
คำถามมีมาก นักวิทยาศาสตร์จะสุ่มปัญหาไปตรวจสอบ แล้วสรุปได้หรือไม่
เงื่อนไข คำถาม 1 คำถามจะตอบคำตอบได้เพียงคำตอบเดียว
"One problem one hypothesis"
"A hypothesis is not a random guess."
จึงจำเป็นต้องจัดลำดับ คำถามเพื่อการพิสูจน์ตรวจสอบ ยากง่ายตามลำดับ
จะเรียงลำดับปัญหาได้อย่างไร...
การเรียงลำดับจำเป็นต้องอภิปราย discussion เพื่อถกประเด็นปัญหาจากหลักฐานและข้อมูลเบื้องต้นที่ปรากฎ
๑.คลองน้ำแห่งนี้มีการไหลของน้ำไหม... ตอบ มี แต่ไหลช้า ๆ ไม่ทราบอัตราการไหล
๒.คลองน้ำแห่งนี้มีพืชน้ำหรือไม่ ตอบ มีเป็นหย่อม ๆ
๓.คลองน้ำแห่งนี้มีสีของน้ำมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ตอบ เดิมมีสีขุ่น แต่ตอนนี้สีเป็นสีเข้ม มีกลิ่น
๔.พบสิ่งมีชิวิตอื่นที่อยู่ในน้ำอื่น ๆ อีกบ้างไหม ตอบ พบมวนน้ำ กบ เขียด เป็นต้น
๕.คล้องแห่งนี้มีท่อระบายน้ำทิ้งลงคลองหรือไม่.... ตอบ มี
๖.ปลายตายส่วนใหญ่เป็นปลาชนิดใด ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาช่อน
๗.พืชน้ำตายด้วยหรือไม่ ตอบ ปกติ
๘.ต้นน้ำ มีปลาอาศัยตามปกติ
๙.ปลาตายมาเป็นวันที่ ๓ แล้ว
จากข้อมูลเบื้องต้น จะนำไปสู่การอนุมานที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาย่อย ซึ่งจำเป็นต้องใช้ ตารางวิเคราะห์ จะง่ายและสะดวกกว่า
วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558
แบบทดสอบวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา วิชาวิทยาศาสตร์ ป ๔ - ๖
สำหรับนักเรียนโรงเรียนอนุบาลรัตนบุรีและผู้ที่สนใจทั่วไป
แบบทดสอบวิทยาศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษา
วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ชุดที่ ๔/๑
ชุดที่ ๔/๒ แนวข้อสอบกลาง
ชุดที่ ๔/๓
เฉลย
วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ชุดที่ ๕/๑ แนวข้อสอบกลาง
ชุดที่ ๕/๒
ชุดที่ ๕/๓
เฉลย
วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ชุดที่ ๖/๑
ชุดที่ ๖/๒
ชุดที่ ๖/๓
เฉลย
O-net ป.๖
ชุด ๒
ชุด ๓
ชุด ๔
นักเรียนสามารถพิมพ์เป็นเอกสารประกอบการเรียนได้
เครติด จาก บ.อจท http://www.aksorn.com/
แบบทดสอบวิทยาศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษา
วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ชุดที่ ๔/๑
ชุดที่ ๔/๒ แนวข้อสอบกลาง
ชุดที่ ๔/๓
เฉลย
วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ชุดที่ ๕/๑ แนวข้อสอบกลาง
ชุดที่ ๕/๒
ชุดที่ ๕/๓
เฉลย
วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ชุดที่ ๖/๑
ชุดที่ ๖/๒
ชุดที่ ๖/๓
เฉลย
O-net ป.๖
ชุด ๒
ชุด ๓
ชุด ๔
นักเรียนสามารถพิมพ์เป็นเอกสารประกอบการเรียนได้
เครติด จาก บ.อจท http://www.aksorn.com/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)