ทำความรู้จักกับคำว่า inquiry พอสังเขป ตามฉบับพจนานุกรม ดังนี้
: a request for information : ขอข้อมูล
: an official effort to collect and examine information about something :ความพยายาม ในการเก็บรวบรวม และตรวจสอบ ข้อมูลเกี่ยวกับ บางสิ่งบางอย่าง
: the act of asking questions in order to gather or collect information : การ
กระทำของการถามคำถามเพื่อ รวบรวม หรือเก็บข้อมูล
สรุป inquiry หมายถึง การถาม แล้วถามทำไม.... เพื่ออะไร อะไรเป็นต้นเหตุของคำถาม
เมื่อคำถามจำเป็นต้องใช้กระบวนการทางภาษา ไม่ใช้ภาษาวาจาได้ไหม....โดยลงมือทำ( Do) ลงมือค้น( Investigate) ลงมือแสดง (Action)ได้ไหม
ในทางวิทยาศาสตร์จึงใช้ Inquiry เป็นเครื่องมือสำคัญในการพิสูจน์คำตอบ(คำตอบที่อยู่ในรูป สมมุติฐาน : Hypothesis ซึ่งสมมุติฐานที่ไม่ได้มาจากการส่ม random guess) คำตอบดังกล่าวมีทิศทาง 3 ทางที่เป็นไปได้ คือ - negative , 0 , + positive
คำถามที่จะสามารถกำหนดเป็นปัญหานั้นสร้างได้อย่างไร แต่ละปัญหาล้วนมีความสลับซับซ้อนทั้งนั้น
ดังจะกำหนดสถาณการ์ต่อไปนี้
" ในคลองน้ำจืดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งข้าง ๆ หมู่บ้าน พบปลาและสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำตาย เช่นปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลาเล็ก ๆ อีกหลายชนิด "
จากสถานการณ์ดังกล่าว อะไรคือปัญหา
ก.ปลาตาย
ข.น้ำเน่าเสีย
ค.นำมีสารพิษ
ง.น้ำมีออกซิเจนต่ำ
คำตอบ.. ข้อ ก. ปลายตาย แล้ว ข้อ อื่น ๆ คือ สาเหตุที่น่าจะทำให้ปลาตาย
เมื่อรู้ปัญหาแล้ว จะกำหนดปัญหาเพื่อสร้างคำตอบในรูปแบบวิทยาศาสตร์อย่างไร
ตอบ เมื่อปลาตายคือ ผล ส่วน น้ำเน่าเสีย น้ำมีสารพิษ น้ำมีออกซิเจนต่ำ และอื่น ๆ เป็นต้นเหตุ จึงกำหนดปัญหาได้ดังนี้
คำถามที่ 1 น้ำเน่าเสียทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 2 นำมีสารพิษทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 3 น้ำมีออกซิเจนต่ำทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 4 จุลินทรีย์ในน้ำทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ ......
คำถามมีมาก นักวิทยาศาสตร์จะสุ่มปัญหาไปตรวจสอบ แล้วสรุปได้หรือไม่
เงื่อนไข คำถาม 1 คำถามจะตอบคำตอบได้เพียงคำตอบเดียว
"One problem one hypothesis"
"A hypothesis is not a random guess."
จึงจำเป็นต้องจัดลำดับ คำถามเพื่อการพิสูจน์ตรวจสอบ ยากง่ายตามลำดับ
จะเรียงลำดับปัญหาได้อย่างไร...
การเรียงลำดับจำเป็นต้องอภิปราย discussion เพื่อถกประเด็นปัญหาจากหลักฐานและข้อมูลเบื้องต้นที่ปรากฎ
๑.คลองน้ำแห่งนี้มีการไหลของน้ำไหม... ตอบ มี แต่ไหลช้า ๆ ไม่ทราบอัตราการไหล
๒.คลองน้ำแห่งนี้มีพืชน้ำหรือไม่ ตอบ มีเป็นหย่อม ๆ
๓.คลองน้ำแห่งนี้มีสีของน้ำมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ตอบ เดิมมีสีขุ่น แต่ตอนนี้สีเป็นสีเข้ม มีกลิ่น
๔.พบสิ่งมีชิวิตอื่นที่อยู่ในน้ำอื่น ๆ อีกบ้างไหม ตอบ พบมวนน้ำ กบ เขียด เป็นต้น
๕.คล้องแห่งนี้มีท่อระบายน้ำทิ้งลงคลองหรือไม่.... ตอบ มี
๖.ปลายตายส่วนใหญ่เป็นปลาชนิดใด ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาช่อน
๗.พืชน้ำตายด้วยหรือไม่ ตอบ ปกติ
๘.ต้นน้ำ มีปลาอาศัยตามปกติ
๙.ปลาตายมาเป็นวันที่ ๓ แล้ว
จากข้อมูลเบื้องต้น จะนำไปสู่การอนุมานที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาย่อย ซึ่งจำเป็นต้องใช้ ตารางวิเคราะห์ จะง่ายและสะดวกกว่า
: a request for information : ขอข้อมูล
: an official effort to collect and examine information about something :ความพยายาม ในการเก็บรวบรวม และตรวจสอบ ข้อมูลเกี่ยวกับ บางสิ่งบางอย่าง
: the act of asking questions in order to gather or collect information : การ
กระทำของการถามคำถามเพื่อ รวบรวม หรือเก็บข้อมูล
สรุป inquiry หมายถึง การถาม แล้วถามทำไม.... เพื่ออะไร อะไรเป็นต้นเหตุของคำถาม
เมื่อคำถามจำเป็นต้องใช้กระบวนการทางภาษา ไม่ใช้ภาษาวาจาได้ไหม....โดยลงมือทำ( Do) ลงมือค้น( Investigate) ลงมือแสดง (Action)ได้ไหม
ในทางวิทยาศาสตร์จึงใช้ Inquiry เป็นเครื่องมือสำคัญในการพิสูจน์คำตอบ(คำตอบที่อยู่ในรูป สมมุติฐาน : Hypothesis ซึ่งสมมุติฐานที่ไม่ได้มาจากการส่ม random guess) คำตอบดังกล่าวมีทิศทาง 3 ทางที่เป็นไปได้ คือ - negative , 0 , + positive
คำถามที่จะสามารถกำหนดเป็นปัญหานั้นสร้างได้อย่างไร แต่ละปัญหาล้วนมีความสลับซับซ้อนทั้งนั้น
ดังจะกำหนดสถาณการ์ต่อไปนี้
" ในคลองน้ำจืดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งข้าง ๆ หมู่บ้าน พบปลาและสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำตาย เช่นปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลาเล็ก ๆ อีกหลายชนิด "
จากสถานการณ์ดังกล่าว อะไรคือปัญหา
ก.ปลาตาย
ข.น้ำเน่าเสีย
ค.นำมีสารพิษ
ง.น้ำมีออกซิเจนต่ำ
คำตอบ.. ข้อ ก. ปลายตาย แล้ว ข้อ อื่น ๆ คือ สาเหตุที่น่าจะทำให้ปลาตาย
เมื่อรู้ปัญหาแล้ว จะกำหนดปัญหาเพื่อสร้างคำตอบในรูปแบบวิทยาศาสตร์อย่างไร
ตอบ เมื่อปลาตายคือ ผล ส่วน น้ำเน่าเสีย น้ำมีสารพิษ น้ำมีออกซิเจนต่ำ และอื่น ๆ เป็นต้นเหตุ จึงกำหนดปัญหาได้ดังนี้
คำถามที่ 1 น้ำเน่าเสียทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 2 นำมีสารพิษทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 3 น้ำมีออกซิเจนต่ำทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ 4 จุลินทรีย์ในน้ำทำให้ปลาตายใช่หรือไม่
คำถามที่ ......
คำถามมีมาก นักวิทยาศาสตร์จะสุ่มปัญหาไปตรวจสอบ แล้วสรุปได้หรือไม่
เงื่อนไข คำถาม 1 คำถามจะตอบคำตอบได้เพียงคำตอบเดียว
"One problem one hypothesis"
"A hypothesis is not a random guess."
จึงจำเป็นต้องจัดลำดับ คำถามเพื่อการพิสูจน์ตรวจสอบ ยากง่ายตามลำดับ
จะเรียงลำดับปัญหาได้อย่างไร...
การเรียงลำดับจำเป็นต้องอภิปราย discussion เพื่อถกประเด็นปัญหาจากหลักฐานและข้อมูลเบื้องต้นที่ปรากฎ
๑.คลองน้ำแห่งนี้มีการไหลของน้ำไหม... ตอบ มี แต่ไหลช้า ๆ ไม่ทราบอัตราการไหล
๒.คลองน้ำแห่งนี้มีพืชน้ำหรือไม่ ตอบ มีเป็นหย่อม ๆ
๓.คลองน้ำแห่งนี้มีสีของน้ำมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ตอบ เดิมมีสีขุ่น แต่ตอนนี้สีเป็นสีเข้ม มีกลิ่น
๔.พบสิ่งมีชิวิตอื่นที่อยู่ในน้ำอื่น ๆ อีกบ้างไหม ตอบ พบมวนน้ำ กบ เขียด เป็นต้น
๕.คล้องแห่งนี้มีท่อระบายน้ำทิ้งลงคลองหรือไม่.... ตอบ มี
๖.ปลายตายส่วนใหญ่เป็นปลาชนิดใด ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาช่อน
๗.พืชน้ำตายด้วยหรือไม่ ตอบ ปกติ
๘.ต้นน้ำ มีปลาอาศัยตามปกติ
๙.ปลาตายมาเป็นวันที่ ๓ แล้ว
จากข้อมูลเบื้องต้น จะนำไปสู่การอนุมานที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาย่อย ซึ่งจำเป็นต้องใช้ ตารางวิเคราะห์ จะง่ายและสะดวกกว่า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น